ท่าคันโท

กศน

กศน.กุดจิก


ข้อมูลทั่วไปและบริบทของตำบลกุดจิก

2.1 ประวัติ / ความเป็นมาของตำบล (พอสังเขป)
              เดิมเป็นเขตการปกครองเดียวกันกับตำบลกุงเก่า  ปัจจุบันมี  11  หมู่บ้าน  ประชากรส่วนใหญ่
ของตำบลเป็นท้องถิ่นดั้งเดิมได้อยู่อาศัยตั้งรกรากมานานแล้ว

  2.2   ที่ตั้ง / อาณาเขต
             ตำบลกุดจิก  ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของจังหวัดกาฬสินธุ์  ในระวางแผนที่  5642
IV  เส้นระวางที่  9906-7560  ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์  ระยะทางประมาณ  100  กิโลเมตร  มีเนื้อที่ประมาณ  57  ตร.กม.  หรือประมาณ  35,652  ไร่  มีอาณาเขตติดกับตำบลใกล้เคียง   ดังนี้
ทิศเหนือ               ติดต่อกับ    ตำบลกุมวาปี   อำเภอศรีธาตุ  จังหวัดอุดรธานี
ทิศใต้                     ติดต่อกับ   ตำบลดูนสาด   อำเภอกระนวน   จังหวัดขอนแก่น
ทิศตะวันออก       ติดต่อกับ   ตำบลกุงเก่า  อำเภอท่าคันโท   จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก         ติดต่อกับ   ตำบลท่าลี่   อำเภอกุมภวาปี   จังหวัดอุดรธานี

2.3 แผนที่ตำบลพอสังเขป
              



2.4 การปกครอง

หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
ชื่อผู้นำ
ตำแหน่ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
บ้านกุดจิก
บ้านกุดจิก
บ้านกุดจิก
บ้านนาหมู
บ้านกุดจิก
บ้านโคกกลาง
บ้านแสนสุข
บ้านแสนสุข
บ้านโคกกลาง
บ้านกุดจิก
บ้านภูเจริญ
นายสาธุพร   ศรีชุม
นายยม   วรรณโส
นายหนอม   ธรรมศิริ
นายดาว   นิโรจน์
นายโสวัติ   สุราฤทธิ์
นายโชคชัย   สุราฤทธิ์
นายประจบ   บัวซุย
นายสากล   บุตรกุล
นายสุพรม   ศรีบุญเรือง
นายหวาด   วงค์ไชยา
นายคำปุนย์   ยศเสน
กำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน

2.5 จำนวนประชากร / จำนวนครัวเรือน

หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
จำนวนประชากร
จำนวนครัวเรือน
(หลัง)
ชาย
หญิง
รวม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
บ้านกุดจิก
บ้านกุดจิก
บ้านกุดจิก
บ้านนาหมู
บ้านกุดจิก
บ้านโคกกลาง
บ้านแสนสุข
บ้านแสนสุข
บ้านโคกกลาง
บ้านกุดจิก
บ้านภูเจริญ
405
197
312
160
214
300
367
216
233
168
109
442
195
331
149
245
296
338
226
221
189
114
847
392
643
309
459
596
705
442
454
357
223
213
86
141
72
103
126
187
102
83
76
74
รวม
2,681
2,746
5,427
1,263



การวิเคราะห์ศักยภาพของศูนย์การเรียนชุมชนตำบลกุดจิก

จุดแข็ง(Strengths)
จุดอ่อน(Weaknesses)
โอกาส(Oppertunities)
อุปสรรค(Threats)
1. ศรช.มีหลักสูตรที่หลากหลาย มีความยืดหยุ่นตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
2. บุคลากรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านการจัดกระบวนกาเรียนรู้ การอบรมสัมมนาหรือพัฒนาครู
1. กลุ่มเป้าหมายมีอาชีพหลักคือการทำเกษตรกรรม เมื่อจัดกิจกรรมมักมีปัญหาผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้ตามแผนที่วางไว้
2. บุคลากรมีภาระหน้าที่รับผิดชอบมากนอกเหนือจากการทำหน้าที่พบกลุ่ม
1. มีการประชาสัมพันธ์แนะนำกิจกรรมหลักสูตร กศน.ให้กับประชาชนได้อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง
2. มีสื่อที่หลากหลาย เช่น หนังสือ แบบเรียน ซีดี
3. อบต. ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดการการศึกษาโดยจัดสรรงบอุดหนุนในกิจกรรมการเรียนการสอน
4. รูปแบบการจัดการศึกษาเอื้อประโยชน์ตรงกับความต้องของกลุ่มเป้าหมาย เช่น การเทียบโอน
1. ประชาชนบางส่วนไม่เห็นความสำคัญของการศึกษา
2. ศรช. ไม่เป็นเอกเทศ มีปัญหาในการจัดกิจกรรมการศึกษา

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น