ท่าคันโท

กศน

กศน.ยางอู้ม


ข้อมูลทั่วไปและบริบทของตำบลยางอู้ม
สภาพทั่วไป
                ตำบลยางอู้มก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2452 โดยมีบุคลร่วมก่อตั้ง 2 พวกแรก พ่อสี นะวะคำศรี พ่อแพทย์สียา แก้วศิลา    พ่อศิลา   วรรณคำ    พ่อสีดา  สิมพา  พ่ออ้วน  วันยาว  และพ่อจารย์ที  พวกที่สอง  อพยพมาจากถิ่นภูไท  จากบ้านโคกหนองแวง บ้านนายูง   พวกที่ 2 อพยพมาจากถิ่นภูไท จากบ้านโคกหนองแวง บ้านนายูง อำเภอกุมภวาปี โดยมีพ่อยนต์  ไซยงค์  พ่อศิลา แม่นารี  ทองคำ และครอบครัว ได้พากันสร้างบ้านเรือนขึ้นในบริเวณทั้งปัจจุบัน ซึ้งเป็นป่าเขาลำเนาไพร  มีสัตว์ป่านานาชนิดมากมาย อยู่มาวันหนึ่ง ทุกคนในหมู่บ้านได้ปรึกษาหารือกันเพื่อจะตั้งชื่อหมู่บ้านและแต่ละต้นมีขนาดใหญ่ คน 5-6 คนอู้มจึงจะรอบต้นยางจึงเห็นสมควรตั้งชื่อหมู่บ้านนี้ว่า บ้านยางอู้ม
การปกครอง ระยะแรกก่อตั้งบ้านยางอู้มขึ้นต่อบ้านท่าคันโทต่อมาจำนวนครัวเรือนเพิ่มมา
ชาวบ้านร้องขอไปยังหลวงสหัสนิกาย  วิชัยพร กำนัน ตำบลท่าคันเพื่อแยกเป็นเอกเทศ จนได้รับอนุญาตแยกเป็นบ้านยางอู้ม   ต่อมาเมื่อปี พ.2474  ได้แยกหมู่บ้านยางอู้มเป็น สองหมู่คือหมู่ที่ 1และหมู่ที่   4

คำขวัญประจำตำบลยางอู้ม
ภูน้อยแดนสวรรค์  รอยนายพรานบนแผ่นหิน ถิ่นกำเนิดต้นยางใหญ่ น้ำปาวใสป่าดงมูล
สภาพภูมิประเทศ
                ชุมชนยางอู้มตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย  และทางตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ระหว่าง เส้นรุ่งที่ 16-17 องศาเหนือ และอยู่ระหว่าง เส้นแวง ที่ 103 – 104
องสาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 519 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 6946.75ตารางกิโลเมตร  หรือประมาณ 4.4 ล้านดเป็นร้อยละ 4.1 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ    สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีเขตติดต่อพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลใกล้เคียง  ดังต่อไปนี้
1.1       ทิศเหนือ  ติดต่อกับลำน้ำปาว
1.2       ทิศตะวันตก  ติดต่อกับเขตเทศบาล ตำบลท่าคันโท อำเภอท่าคันโท  จังหวัดกาฬสินธุ์
1.3       ทิศตะวันออก  ติดต่อกับเขตเทศบาล ตำบลดงสมบูรณ์  อำเภอท่าคันโท    จังหวัดกาฬสินธุ์
1.4       ทิศใต้  ติดต่อกับเขตเทศบาล ตำบลนาตาล  อำเภอท่าคันโท  จังหวัดกาฬสินธุ์


 การปกครอง
หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
ชื่อผู้นำ
ตำแหน่ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
บ้านยางอู้ม
บ้านยางอู้ม
บ้านคำบอน
บ้านยางอู้ม
บ้านคำบอน
บ้านชัยศรีสุข
นายทองดี  ภูคำใบ
นายสัมฤทธิ์  สายเสมา
นายเจริญ  บุตรอินทร์
นายหวัด  นะวะคำศรี
นายวันณรงค์  ทรัพย์สุวรรณ
นายบุญจันทร์  เหลาคำควร
กำนันตำบล
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน



จำนวนประชากร / จำนวนครัวเรือน

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน
จำนวนประชากร
จำนวนครัวเรือน
( หลัง )
ชาย
หญิง
รวม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
บ้านยางอู้ม
บ้านยางอู้ม
บ้านคำบอน
บ้านยางอู้ม
บ้านคำบอน
บ้านชัยศรีสุข
529
617
204
319
143
368
504
644
212
288
140
370
1033
1261
416
607
283
738
225
280
96
139
59
184

รวม
2,180
2,158
4,338
3,078



การวิเคราะห์ศักยภาพของศูนย์การเรียนชุมชนตำบลยางอู้ม
จุดแข็ง(Strengths)
จุดอ่อน(Weaknesses)
โอกาส(Oppertunities)
อุปสรรค(Threats)
1. ศรช. มีหลักสูตรที่หลากหลาย  มีความยืดหยุ่นตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
2. บุคลากรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้  การอบรมสัมมนาหรือพัฒนาครู
1. กลุ่มเป้าหมายมีอาชีพหลักคือการทำเกษตรกรรม  เมื่อจัดกิจกรรมมักมีปัญหาผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่วางไว้
2. บุคลากรมีภาระหน้าที่รับผิดชอบมาก  นอกเหนือจากการทำหน้าที่การพบกลุ่มพหรือพัฒนาครูั้งในด้านการจัดกระบวนการ
1. มีการประชาสัมพันธ์  แนะนำกิจกรรมหลักสูตร  กศน. ให้กับประชาชนได้อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง
2. มีสื่อหลากหลาย  เช่น  หนังสือ  แบบเรียน  ซีดี
3. อบต. ตระหนักและเห็นความสำคัญของการศึกษาโดยจัดสรรเงินงบอุดหนุนและสถานที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4. รูปแบบการจัดการศึกษาเอื้อประโยชน์ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย  เช่น  การเทียบโอน
1. ประชาชนบางส่วนไม่เห็นความสำคัญของการศึกษา
2. นักศึกษมาพบกลุ่มน้อยเพราะติดภาระกิจในการประกอบอาชีพหาเลี้ยงครอบครัว

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น